ความแตกต่างระหว่างซองฟอยล์เมทัลไลท์ Vs ฟอยล์อลูมิเนียม
ซองฟอยล์เมทัลไลท์และฟอยล์อลูมิเนียมเป็นวัสดุที่ถูกใช้ในหลายๆ งาน เนื่องจากคุณสมบัติของทั้ง 2 อย่างนี้มีความน่าสนใจอย่างมาก
ทุกวันนี้ในบ้านเรานั้นก็ถือเป็นสิ่งที่ได้รับการพัฒนาไปอย่างเยอะมากจริงๆ เลยนะครับ ซึ่งรูปแบบการพิมพ์ในบ้านเรานั้นก็มีเทคโนโลยีต่างๆ ให้เราเลือกกันอย่างมากมายอีกด้วย ซึ่งแต่ละชนิดนั้นก็มักจะตอบสนองกับลูกค้าที่แตกต่างกันออกไปนั่นเอง แถมขั้นตอนต่างๆ นั้นแต่ละเทคโนโลยีของการพิมพ์ก็จะแตกต่างกันออกไปอีกด้วย เพราะว่าขั้นตอนการพิมพ์นั้นก็จะเป็นการเตรียมตัวทุกอย่างตั้งแต่ในส่วนของไฟล์งาน การออกแบบ ที่เรียบร้อยที่พร้อมจะส่งให้กับทางโรงพิมพ์ การเตรียมเพลตสำหรับใช้เป็นแม่แบบ
ซึ่งเครื่องพิมพ์นั้นก็จะเป็นขั้นตอนในการตรวจสอบ หรือที่ส่วนใหญ่มักจะเรียกกันว่า Proof งานแบบต่างๆ โดยในวันนี้นั้นเราก็จะมีพูดถึงขั้นตอนการพิมพ์ของระบบออฟเซ็ทกันนะครับ ซึ่งการพิมพ์ชนิดนี้นั้นก็ถือเป็นสิ่งที่ได้รับความนิยมกันเป็นอย่างมาก แต่บางคนนั้นก็อาจจะยังไม่ทราบกันนะครับว่าระบบการพิมพ์แบบนี้นั้นมันมีขั้นตอนอย่างไร เอาเป็นว่าเราก็จะมาอธิบายกันนะครับ รับรองเลยว่าจะทำให้ทุกคนได้ทราบถึงขั้นตอนการพิมพ์นี้กันนั่นเอง
ขั้นตอนในการพิมพ์ระบบออฟเซ็ทนั้น สิ่งที่สำคัญก็คือน้ำและน้ำมันนั้นก็จะไม่ผสมอยู่ด้วยกันนะครับ โดยที่เพลตที่ผลิตขึ้นนั้นก็จะอาบด้วยน้ำยาเคมีที่ทำให้ตัวเพลตอมหมึกแต่ไม่อมน้ำนั่นเอง โดยขั้นตอนต่างๆ นั้นก็จะมีดังต่อไปนี้
ขั้นตอนแรก แผ่นเพลตจะถูกมัดกับกระบอกเพลตที่สามารถหมุนได้ ซึ่งจะหมุนไปรับน้ำหมึกก่อน เมื่อสามารถรับน้ำหมึกได้แล้วนั้นก็จะถูกส่งไป
ขั้นตอนที่สอง คือหมึกก็จะส่งต่อไปยังกระบอกพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นยาง เมื่อขั้นตอนที่สองเสร็จแล้ว
ในขั้นตอนที่สามนั้น กระบอกพิมพ์ก็จะส่งน้ำหมึกลงไปบนกระดาษที่ป้อนเข้ามา ซึ่งสุดท้ายแล้วกระบอกกดนั้นก็จะมีหน้าที่กดกระดาษให้แนบกับเครื่องพิมพ์ โดยเรานั้นสามารถที่จะปรับแรงกดได้ตามความหนาของกระดาษพิมพ์ที่ใช้ โดยกระดาษที่มีผิวขรุขระนั้นก็จะต้องใช้แรงกดจากกระบอกกดมากเป็นพิเศษ เพื่อที่จะต้องให้สีที่เราต้องการนั้นติดบนกระดาษได้ตามความต้องการนั่นเอง
ดังนั้นการพิมพ์ในระบบนี้ส่วนใหญ่ก็จะมีราคาต้นทุนที่สูงเป็นอย่างมาก เลยทำให้หลายๆ คนที่ได้พิมพ์ระบบนี้นั้นก็อาจจะไม่เกิดความคุ้มค่านั่นเอง ดังนั้นการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทนั้นก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับชิ้นงานของเราด้วยนะครับว่าสามารถที่จะตอบโจทย์กับความต้องการของเราได้หรือเปล่า ดังนั้นการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทถึงแม้ว่าจะมีราคาที่สูง
เพราะความละเอียดของการพิมพ์ชนิดนี้นั้นก็สามารถที่จะสร้างความละเอียดได้ถึง 175-200 เส้นต่อนิ้วด้วยกัน ซึ่งมันเหมาะสมกับงานที่มีลักษณะซับซ้อน และตัวหนังสือที่มีขนาดเล็กมากๆ เพราะการพิมพ์ด้วยระบบนี้นั้นมันสามารถที่จะทำความละเอียดต่างๆ ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง ซึ่งมันก็เลยสามารถที่จะตอบโจทย์กับชิ้นงานที่มีรายละเอียดต่างๆ ที่เยอะอีกด้วย
โดยไม่ว่าจะเป็นกระดาษในรูปแบบไหนก็ตามแต่การพิมพ์ด้วยระบบนี้นั้นก็สามารถที่จะพิมพ์ได้ทั้งหมด แถมยังสามารถที่จะพิมพ์ได้ที่ความหนาตั้งแต่ 55-600 แกรมอีกด้วยนั่นเอง อย่างไรก็ตามนั้นการพิมพ์ในรูปแบบนี้นั้นก็สามารถที่จะตอบโจทย์กับความต้องการได้เป็นอย่างดีอีกด้วย เลยทำให้การพิมพ์ระบบออฟเซ็ทนั้นสามารถที่จะตอบโจทย์กับชิ้นงานต่างๆ ได้อย่างมากมายเลยทีเดียว
ซึ่งเครื่องพิมพ์แบบออฟเซ็ทนั้นก็สามารถที่จะพิมพ์ได้มากถึง 160 แผ่นต่อนาทีด้วยกัน ซึ่งเรียกได้ว่าระบบนี้นั้นก็สามารถที่จะตอบโจทย์กับงานที่ต้องใช้เวลาได้เป็นอย่างดีนั่นเอง
สามารถที่จะทำให้ค่าใช้จ่ายนั้นถูกลงได้เป็นอย่างดีเลยนะครับหรืออาจจะเรียกได้ว่าพิมพ์เยอะยิ่งประหยัดแถมชิ้นงานยังมีคุณภาพอีกด้วย
ดังนั้นในการเลือกพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทถึงแม้ว่าจะมีขั้นตอนที่ซับซ้อนไปเสียหน่อย แต่ถ้าเทียบกับชิ้นงานของเราที่ได้ออกมานั้นก็สามารถที่จะตอบโจทย์กับความต้องการได้เป็นอย่างดีเลยนะครับ แถมยังสามารถที่จะพิมพ์ได้กี่สีก็ได้ ซึ่งทำให้ชิ้นงานที่ออกมาได้ถูกใจลูกค้า ชิ้นงานมีคุณภาพ และมีความสวยงามเป็นอย่างมากอีกด้วย เรียกได้ว่าการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทถึงแม้ว่าจะมีราคาที่สูง แต่ถ้าเราจัดทำในประมาณที่เยอะนั้นแน่นอนมันสามารถที่จะตอบโจทย์กับความต้องการของลูกค้าได้นั่นเอง
เอาเป็นว่าเทคโนโลยีการพิมพ์ถึงแม้ว่าในบ้านเราจะมีให้เลือกกันอย่างมากมายก็ตามนั้น ถ้าหากเราเลือกที่มันสามารถตอบโจทย์กับความต้องการได้นั้นรับรองเลยว่าชิ้นงานทีเราทำนั้นก็จะออกมาดีและถูกใจกันอย่างแน่นอนนั่นเอง
บทความที่ใกล้เคียง การพิมพ์ดิจิตอล Digital Printing คืออะไร